ปรับภูมิคุ้มกันในสมดุล ดูแลจอประสาทตาเสื่อม
อาการจอประสาทตาเสื่อม (Age-Related Macular Degeneration: AMD) พบบ่อยในกลุ่มผู้สูงวัย เป็นสาเหตุถึงร้อยละ 55 ที่ทำให้สูญเสียการมองเห็นอย่างถาวร อาการดังกล่าวเกิดจากการเสื่อมสภาพในส่วนกลางของจอประสาทตาพบได้มากกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป โดยมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ เช่น พันธุกรรม พบมากในคนผิวขาว เพศหญิงมากว่าชาย การสูบบุหรี่ที่ทำให้มีโอกาสเกิดขึ้นเร็วกว่า ผู้ไม่สูบถึง 10 ปี รวมถึงความดันโลหิต และระดับคอเลสเตอรอล ในเลือดสูง
ศ.ดร.พิเชษฐ์ วิริยะจิตรา ประธานและกรรมการผู้จัดการ บริษัท เอเชียน ไฟย์โต ซูติคอลส์ จำกัด (มหาชน) ผู้คิดค้นวิธีการสร้างภูมิคุ้มกันให้สมดุลด้วยสารสกัดธรรมชาติ ระบุว่า อาการจอประสาทตาเสื่อมแบ่งได้ 2 ประเภท โดยร้อยละ 90 มักพบเป็นจอประสาทตาเสื่อมแบบแห้ง จะมีการเสื่อมสลายมีโปรตีนและไขมัน จับอยู่ที่จุดกลางรับภาพจอประสาทตา จากการเสื่อมตามอายุ ความสามารถในการมองเห็นจะค่อยๆ ลดลง บางรายรุนแรงก็อาจพัฒนาเป็นจอประสาทตาเสื่อมแบบเปียก พบได้ร้อยละ 10-15
|
|
งานวิจัยตาเสื่อม |
ณัชร วรดานฤทธิ์ |
|
|
ตา BIM เราเคยเข้าใจว่า วุ้นตาเสื่อม รักษาไม่ได้....
ลองติดตามวิทยาการใหม่นี้ดู ตอนที่ 1 |
ตา BIM เราเคยเข้าใจว่า วุ้นตาเสื่อม รักษาไม่ได้....
ลองติดตามวิทยาการใหม่นี้ดู ตอนที่ 2 |
|
|
ตา BIM เราเคยเข้าใจว่า วุ้นตาเสื่อม รักษาไม่ได้....
ลองติดตามวิทยาการใหม่นี้ดู ตอนที่ 3 |
สัมภาษณ์ คุณอัจฉรา นิตยานนท์
ผู้เคยเป็นปัญหาสุขภาพตาเสื่อม |
|
|
สัมภาษณ์ คุณกนกพร ศรีจันทร์
ผู้เคยเป็นปัญหาสุขภาพตาเสื่อม |
สัมภาษณ์ คุณศุภญา ไทยพิสุทธิกุล
ผู้เคยเป็นปัญหาสุขภาพตาเสื่อม |
|
|
สัมภาษณ์ คุณยโสธร ชุติโรจน์
ผู้เคยเป็นปัญหาสุขภาพตาเสื่อม |
|